ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนบ้านถ้ำลอด ตั้งอยู่เลขที่ ๑๕๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีประวัติและความเป็นมาดังนี้
โรงเรียนบ้านถ้ำลอด ราษฎรหมู่บ้านนี้สนใจการศึกษามาก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๙ ได้ทำการประชุมกันว่าสมควรจะมีการขอจัดตั้งโรงเรียนขึ้น เพื่อเปิดทำการสอนเด็กนักเรียนให้เด็กในหมู่บ้านได้รู้หนังสือ จึงมีมติร่วมใจกันสละแรงงาน แรงกายตลอดจนวัสดุในการก่อสร้าง สร้างอาคารเรียนชั่วคราว สร้างโต๊ะ เก้าอี้ ซึ่งสร้างด้วยไม้ไผ่ทั้งสิ้น มีขนาดอาคาร ๔ * ๘ เมตร บริเวณของโรงเรียนมีเนื้อที่ประมาณ ๕๐ * ๕๐ ตารางเมตรเท่านั้นหรือ ๒,๕๐๐ ตารางเมตร เป็นโรงเรียนที่มีพื้นที่คับแคบมาก แล้วชุมชนได้ขอครูมาทำการสอน แต่ในปีนี้ไม่มีครูมาทำการสอน เพราะยังขาดอัตรากำลังครู
พ.ศ.๒๕๒๐ เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๐ องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ส่งครูมาทำการสอนโรงเรียนแห่งนี้เป็นครั้งแรก ตามคำสั่งอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ที่ มส ๒๒๖๘/๒๕๒๐ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๐ มีนักเรียนครั้งแรก ๓๑ คน โยนายสามารถ สิงห์พรหม เป็นครูมาทำการสอนเป็นคนแรก โดยให้ชื่อว่า “โรงเรียนบ้านเมืองแพมสาขาบ้านถ้ำลอด”
พ.ศ.๒๕๒๑ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ได้รับการจัดสรร โต๊ะ เก้าอี้ จำนวน ๑๕ ชุด พื้นที่โรงเรียนเดิมคับแคบเป็นปัญหาในการพัฒนาจัดการศึกษาในอนาคต จึงประชุมกันย้ายโรงเรียนไปสร้างที่แห่งใหม่(ที่โรงเรียนตั้งอยู่ปัจจุบัน นี้) มีพื้นที่ทั้งหมด ๑๘ ไร่
พ.ศ.๒๕๒๓ เมื่อวันที่ ๒-๓ กุมภาพันธ์ ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ร่วมกันสร้างอาคารเรียนแบบถาวรขึ้นโดยไม่ใช้งบ ประมาณของทางราชการ ได้ห้องเรียนขนาด๕*๕ เมตร จำนวน ๔ ห้องเรียน โดยประกอบด้วยผู้ให้การสนับสนุนได้แก่ คณะสงฆ์วัดถ้ำลอดอาจารย์ ฤทธิศร แสนนามและคณะจากสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทแม่ฮ่องสอน นายธำรง บุญ พิทักษ์ หัวหน้าส่วนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน อาจารย์ ณรงค์ ปินตาเรือน นายผ่านพรรณโรจน์ หัวหน้าหมวดการศึกษาอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนและคณะพร้อมด้วยนักการภารโรงอำเภอ เมืองแม่ฮ่องสอนมาช่วยดำเนินการก่อสร้าง คิดเป็นเงินค่าก่อสร้างประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาทโดยนายอุทิศ นันทฟู เป็นหัวหน้าโครงการก่อสร้างอาคารเรียนดังกล่าว
พ.ศ.๒๕๒๔ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ มีผ้าป่าคณะผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน มาสมทบการก่อสร้างอาคารเรียนอีก ๓ ห้องเรียน ได้เงิน ๑๗,๐๐๐ บาท นำโดยนายประเกียรติ ภูษาหัส นายท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน โดยนายสายทอง จันทร์เต็มเป็นหัวหน้าโครงการ
พ.ศ.๒๕๒๖ โรงเรียนบ้านเมืองแพมสาขาบ้านถ้ำลอด ได้แยกออกมาตั้งเป็นโรงเรียนหลัก ชื่อ “ โรงเรียนบ้านถ้ำลอด” นายไพโรจน์ มณีรอด เป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนแห่งนี้ แต่ไม่ได้มาทำการสอน นายอุทิศ นันทฟู รักษาการในตำแหน่งมาโดยตลอดจนถึงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๘ ตั้งแต่วันที่ ๘ กรกฎาคม เป็นต้นไป ได้รับงบประมาณดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ ดังต่อไปนี้
๑.ได้รับงบประมาณ ๖๑,๗๐๐ บาทต่อเติมอาคารเรียน จำนวน ๔ ห้องเรียนโดยต่อเติมฝาผนังห้อง ประตู หน้าต่าง
๒.ได้รับงบประมาณ ๓๓,๐๐๐ บาท สร้างส้วมนักเรียน แบบ ส.๖๐๑ จำนวน ๑ หลัง ๓ ที่นั่ง
๓.ได้รับงบประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครู แบบกรมสามัญ ๑ หลัง โดยเป็นบ้านที่รื้อย้ายจากโรงเรียนอื่นมาสร้างใหม่
๔.ได้รับงบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครู แบบกรมสามัญ ๑ หลัง โดยเป็นบ้านที่รื้อย้ายจากโรงเรียนอื่นมาสร้างใหม่
๕.ได้รับงบประมาณ ๓๓,๐๐๐ บาทสร้างถังเก็บน้ำฝนแบบ ฝ.๓๐ พิเศษ ๑ ชุด
พ.ศ.๒๕๒๘ ได้รับงบประมาณ ๙๐,๐๐๐ บาท ต่อเติมอาคารเรียนหลังเดิมเพิ่มอีก ๔ ห้องเรียน ในปีนี้ นายอุทิศ นันทฟู ได้รับการประเมินแต่งตั้งเป็นครูใหญ่โรงเรียนบ้านถ้ำลอด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๒๘ เป็นต้นไป
พ.ศ.๒๕๓๒ ได้รับงบประมาณและสิ่งปลูกสร้าง ดังนี้
๑.ได้รับงบประมาณ ๓๖,๐๐๐ บาท สร้างถังเก็บน้ำฝนแบบ ฝ.๓๐ พิเศษ เพิ่มอีก ๑ ชุด
๒.ได้รับการสนับสนุนเงิน ๑๖๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครูโดยใช้อิฐมหาดไทยโดยการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน
พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับงบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท สร้างเรือเพาะชำแบบ พ.๑ จำนวน ๑ หลังพ.ศ.๒๕๓๕ ได้รับการสนับสนุนเงิน ๑๐๕,๐๐๐ บาท จากพระสงฆ์ คณะครู ข้าราชการ พ่อค้าประชาชนร่วมกันสร้างโรงอาหารนักเรียนโดยไม่ใช้งบประมาณขอวงทางราชการ
พ.ศ.๒๕๓๖ ได้รับงบประมาณ ๕๔,๐๐๐ บาท สร้างส้วมนักเรียนแบบ สปช.๖๐๑/๒๖ จำนวน ๒ ที่นั่ง
พ.ศ.๒๕๓๗ ได้รับงบประมาณ ๗๘๙,๐๐๐ บาท สร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๓/๒๖ จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับงบประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ บาท สร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๓/๒๖ จำนวน ๑ หลัง และได้รับเงิน ๖๔,๓๖๐ บาท ปรับปรุงห้องปฏิบัติการทางภาษา มีที่นั่งเรียน ๒๐ ที่นั่ง
พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รับงบประมาณ ๗๔,๕๐๐ บาท ปรับปรุงห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์และห้องวิทยาศาสตร์ ในปีเดียวกันนี้ได้ยกระดับตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนเป็นตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ด้วย(นายอุทิศ นันทฟู เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก)
พ.ศ.๒๕๔๑ สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอนเริ่มให้การสนับสนุนครูจ้างสอนมาปฏิบัติงานในโรงเรียน
พ.ศ.๒๕๔๓ โรงเรียนบ้านถ้ำลอดได้ทำการเปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ตามโครงการนำร่องการจัดการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ของอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พ.ศ.๒๕๔๔ ได้รับงบประมาณ ๒๔๒,๑๐๐ บาท สร้างบ้านพักนักเรียนจำนวน ๑ หลัง สามรถรับนักเรียนเข้าพักได้ ๒๐ คน ในปีนี้ ได้เปลี่ยนตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนเป็นตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน (นายอุทิศ นันทฟู เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นคนแรก) ในปีเดียวกับได้รับงบประมาณ ในการก่อสร้างอีกดังนี้
๑.สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ ๑ หน่วย จากองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำลอด งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๒.สร้างอาคารเรียน แบบ สปช ๑๐๒/๒๖ จำนวน ๑ หลัง ๓ ห้องเรียน งบประมาณ ๗๗๐,๐๐๐ บาท
๓.สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ อีก ๑ หน่วย จากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ.๒๕๔๖ ได้รับงบประมาณ ๕๒,๐๐๐ บาท สร้างส้วม แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ จำนวน ๒ ที่นั่ง เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน
พ.ศ.๒๕๔๙ ได้รับงบประมาณ ๑๑๙,๐๐๐ บาท สร้างส้วมแบบ สปช.๖๐๑/๒๖ จำนวน ๔ ที่นั่ง หนึ่งหลัง
พ.ศ.๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๙ ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท ซี แอน ซี ทาเวิล เดนมาร์ค จำนวน ๙๐๐,๐๐๐ บาทจากกองทุนโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน ๑๐๐,๐๐๐ บาท สร้างหอพักนักเรียนหญิงจำนวนหนึ่งหลัง และจากคุณ คิม อีก ๘,๐๐๐ บาท ถ้วน (๑,๑๐๘,๐๐๐ บาท)
พ.ศ ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ถึง ๒๘ มีนาคม คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สร้างส้วมขนาด ๓ ที่นั่งให้กับนักเรียนหอพักชายจำนวน ๑ หลัง คิดเป็นมูลค่า ๙๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จำนวนเงิน ๒,๕๓๗,๖๐๐ บาท สร้างอาคาร สปช.๑๐๕/๒๙ จำนวน ๑ หลัง ขนาด ๔ ห้องเรียนทนอาคารเรียนเดิม(อาคารบริจาค)สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๔ และสร้างหอพักนักเรียนชายอีก ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๖๒ ได้รับงบประมาณการก่อสร้าง
โรงเรียนบ้านถ้ำลอด ตั้งอยู่เลขที่ ๑๕๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลถ้ำลอด อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีประวัติและความเป็นมาดังนี้
โรงเรียนบ้านถ้ำลอด ราษฎรหมู่บ้านนี้สนใจการศึกษามาก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๙ ได้ทำการประชุมกันว่าสมควรจะมีการขอจัดตั้งโรงเรียนขึ้น เพื่อเปิดทำการสอนเด็กนักเรียนให้เด็กในหมู่บ้านได้รู้หนังสือ จึงมีมติร่วมใจกันสละแรงงาน แรงกายตลอดจนวัสดุในการก่อสร้าง สร้างอาคารเรียนชั่วคราว สร้างโต๊ะ เก้าอี้ ซึ่งสร้างด้วยไม้ไผ่ทั้งสิ้น มีขนาดอาคาร ๔ * ๘ เมตร บริเวณของโรงเรียนมีเนื้อที่ประมาณ ๕๐ * ๕๐ ตารางเมตรเท่านั้นหรือ ๒,๕๐๐ ตารางเมตร เป็นโรงเรียนที่มีพื้นที่คับแคบมาก แล้วชุมชนได้ขอครูมาทำการสอน แต่ในปีนี้ไม่มีครูมาทำการสอน เพราะยังขาดอัตรากำลังครู
พ.ศ.๒๕๒๐ เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๐ องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ส่งครูมาทำการสอนโรงเรียนแห่งนี้เป็นครั้งแรก ตามคำสั่งอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน ที่ มส ๒๒๖๘/๒๕๒๐ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๒๐ มีนักเรียนครั้งแรก ๓๑ คน โยนายสามารถ สิงห์พรหม เป็นครูมาทำการสอนเป็นคนแรก โดยให้ชื่อว่า “โรงเรียนบ้านเมืองแพมสาขาบ้านถ้ำลอด”
พ.ศ.๒๕๒๑ เมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ได้รับการจัดสรร โต๊ะ เก้าอี้ จำนวน ๑๕ ชุด พื้นที่โรงเรียนเดิมคับแคบเป็นปัญหาในการพัฒนาจัดการศึกษาในอนาคต จึงประชุมกันย้ายโรงเรียนไปสร้างที่แห่งใหม่(ที่โรงเรียนตั้งอยู่ปัจจุบัน นี้) มีพื้นที่ทั้งหมด ๑๘ ไร่
พ.ศ.๒๕๒๓ เมื่อวันที่ ๒-๓ กุมภาพันธ์ ชุมชน หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ร่วมกันสร้างอาคารเรียนแบบถาวรขึ้นโดยไม่ใช้งบ ประมาณของทางราชการ ได้ห้องเรียนขนาด๕*๕ เมตร จำนวน ๔ ห้องเรียน โดยประกอบด้วยผู้ให้การสนับสนุนได้แก่ คณะสงฆ์วัดถ้ำลอดอาจารย์ ฤทธิศร แสนนามและคณะจากสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทแม่ฮ่องสอน นายธำรง บุญ พิทักษ์ หัวหน้าส่วนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน อาจารย์ ณรงค์ ปินตาเรือน นายผ่านพรรณโรจน์ หัวหน้าหมวดการศึกษาอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอนและคณะพร้อมด้วยนักการภารโรงอำเภอ เมืองแม่ฮ่องสอนมาช่วยดำเนินการก่อสร้าง คิดเป็นเงินค่าก่อสร้างประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาทโดยนายอุทิศ นันทฟู เป็นหัวหน้าโครงการก่อสร้างอาคารเรียนดังกล่าว
พ.ศ.๒๕๒๔ เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ มีผ้าป่าคณะผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน มาสมทบการก่อสร้างอาคารเรียนอีก ๓ ห้องเรียน ได้เงิน ๑๗,๐๐๐ บาท นำโดยนายประเกียรติ ภูษาหัส นายท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน โดยนายสายทอง จันทร์เต็มเป็นหัวหน้าโครงการ
พ.ศ.๒๕๒๖ โรงเรียนบ้านเมืองแพมสาขาบ้านถ้ำลอด ได้แยกออกมาตั้งเป็นโรงเรียนหลัก ชื่อ “ โรงเรียนบ้านถ้ำลอด” นายไพโรจน์ มณีรอด เป็นครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนแห่งนี้ แต่ไม่ได้มาทำการสอน นายอุทิศ นันทฟู รักษาการในตำแหน่งมาโดยตลอดจนถึงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๘ ตั้งแต่วันที่ ๘ กรกฎาคม เป็นต้นไป ได้รับงบประมาณดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ ดังต่อไปนี้
๑.ได้รับงบประมาณ ๖๑,๗๐๐ บาทต่อเติมอาคารเรียน จำนวน ๔ ห้องเรียนโดยต่อเติมฝาผนังห้อง ประตู หน้าต่าง
๒.ได้รับงบประมาณ ๓๓,๐๐๐ บาท สร้างส้วมนักเรียน แบบ ส.๖๐๑ จำนวน ๑ หลัง ๓ ที่นั่ง
๓.ได้รับงบประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครู แบบกรมสามัญ ๑ หลัง โดยเป็นบ้านที่รื้อย้ายจากโรงเรียนอื่นมาสร้างใหม่
๔.ได้รับงบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครู แบบกรมสามัญ ๑ หลัง โดยเป็นบ้านที่รื้อย้ายจากโรงเรียนอื่นมาสร้างใหม่
๕.ได้รับงบประมาณ ๓๓,๐๐๐ บาทสร้างถังเก็บน้ำฝนแบบ ฝ.๓๐ พิเศษ ๑ ชุด
พ.ศ.๒๕๒๘ ได้รับงบประมาณ ๙๐,๐๐๐ บาท ต่อเติมอาคารเรียนหลังเดิมเพิ่มอีก ๔ ห้องเรียน ในปีนี้ นายอุทิศ นันทฟู ได้รับการประเมินแต่งตั้งเป็นครูใหญ่โรงเรียนบ้านถ้ำลอด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๒๘ เป็นต้นไป
พ.ศ.๒๕๓๒ ได้รับงบประมาณและสิ่งปลูกสร้าง ดังนี้
๑.ได้รับงบประมาณ ๓๖,๐๐๐ บาท สร้างถังเก็บน้ำฝนแบบ ฝ.๓๐ พิเศษ เพิ่มอีก ๑ ชุด
๒.ได้รับการสนับสนุนเงิน ๑๖๐,๐๐๐ บาท สร้างบ้านพักครูโดยใช้อิฐมหาดไทยโดยการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการพัฒนาที่สูงไทย-เยอรมัน
พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับงบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท สร้างเรือเพาะชำแบบ พ.๑ จำนวน ๑ หลังพ.ศ.๒๕๓๕ ได้รับการสนับสนุนเงิน ๑๐๕,๐๐๐ บาท จากพระสงฆ์ คณะครู ข้าราชการ พ่อค้าประชาชนร่วมกันสร้างโรงอาหารนักเรียนโดยไม่ใช้งบประมาณขอวงทางราชการ
พ.ศ.๒๕๓๖ ได้รับงบประมาณ ๕๔,๐๐๐ บาท สร้างส้วมนักเรียนแบบ สปช.๖๐๑/๒๖ จำนวน ๒ ที่นั่ง
พ.ศ.๒๕๓๗ ได้รับงบประมาณ ๗๘๙,๐๐๐ บาท สร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๓/๒๖ จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับงบประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ บาท สร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๓/๒๖ จำนวน ๑ หลัง และได้รับเงิน ๖๔,๓๖๐ บาท ปรับปรุงห้องปฏิบัติการทางภาษา มีที่นั่งเรียน ๒๐ ที่นั่ง
พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รับงบประมาณ ๗๔,๕๐๐ บาท ปรับปรุงห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์และห้องวิทยาศาสตร์ ในปีเดียวกันนี้ได้ยกระดับตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนเป็นตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ด้วย(นายอุทิศ นันทฟู เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก)
พ.ศ.๒๕๔๑ สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอนเริ่มให้การสนับสนุนครูจ้างสอนมาปฏิบัติงานในโรงเรียน
พ.ศ.๒๕๔๓ โรงเรียนบ้านถ้ำลอดได้ทำการเปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ตามโครงการนำร่องการจัดการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ของอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
พ.ศ.๒๕๔๔ ได้รับงบประมาณ ๒๔๒,๑๐๐ บาท สร้างบ้านพักนักเรียนจำนวน ๑ หลัง สามรถรับนักเรียนเข้าพักได้ ๒๐ คน ในปีนี้ ได้เปลี่ยนตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนเป็นตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน (นายอุทิศ นันทฟู เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นคนแรก) ในปีเดียวกับได้รับงบประมาณ ในการก่อสร้างอีกดังนี้
๑.สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ ๑ หน่วย จากองค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำลอด งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๒.สร้างอาคารเรียน แบบ สปช ๑๐๒/๒๖ จำนวน ๑ หลัง ๓ ห้องเรียน งบประมาณ ๗๗๐,๐๐๐ บาท
๓.สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ อีก ๑ หน่วย จากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดแม่ฮ่องสอน งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ.๒๕๔๖ ได้รับงบประมาณ ๕๒,๐๐๐ บาท สร้างส้วม แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ จำนวน ๒ ที่นั่ง เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน
พ.ศ.๒๕๔๙ ได้รับงบประมาณ ๑๑๙,๐๐๐ บาท สร้างส้วมแบบ สปช.๖๐๑/๒๖ จำนวน ๔ ที่นั่ง หนึ่งหลัง
พ.ศ.๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๙ ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท ซี แอน ซี ทาเวิล เดนมาร์ค จำนวน ๙๐๐,๐๐๐ บาทจากกองทุนโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน ๑๐๐,๐๐๐ บาท สร้างหอพักนักเรียนหญิงจำนวนหนึ่งหลัง และจากคุณ คิม อีก ๘,๐๐๐ บาท ถ้วน (๑,๑๐๘,๐๐๐ บาท)
พ.ศ ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ถึง ๒๘ มีนาคม คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สร้างส้วมขนาด ๓ ที่นั่งให้กับนักเรียนหอพักชายจำนวน ๑ หลัง คิดเป็นมูลค่า ๙๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ได้รับการจัดสรรงบประมาณ จำนวนเงิน ๒,๕๓๗,๖๐๐ บาท สร้างอาคาร สปช.๑๐๕/๒๙ จำนวน ๑ หลัง ขนาด ๔ ห้องเรียนทนอาคารเรียนเดิม(อาคารบริจาค)สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๔ และสร้างหอพักนักเรียนชายอีก ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๖๒ ได้รับงบประมาณ ๑,๐๗๐,๐๐๐ บาท อาคารเอนกประสงค์ สปช.๒๐๑/๒๑ จำนวน ๑ หลัง
พ